ทั่วไป

จากแป้งมันสำปะหลัง สู่รสอูมามิ

การผลิตผงชูรสในประเทศไทย จะใช้วัตถุดิบจากท้องถิ่น คือ แป้งมันสำปะหลัง มาละลายน้ำจนได้เป็นน้ำแป้ง แล้วนำน้ำแป้งมาผ่านกระบวนการให้ได้เป็นน้ำตาลกลูโคส โดยจะเติมเอนไซม์อะไมเลสลงไปเพื่อย่อยแป้งให้เป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว คือน้ำตาลกลูโคส จากนั้นจะเข้าสู่กระบวนการหมัก แยกกรดกลูตามิกออกมา แล้วจึงเข้าสู่กระบวนการคัดแยกกรดกลูตามิก เพื่อให้ได้สารละลายโมโนโซเดียมกลูตาเมต นำสารละลายมาผ่านกระบวนการดูดซับสีและกลิ่น ให้ได้เป็นสารละลายโมโนโซเดียมกลูตาเมตบริสุทธิ์ และขั้นตอนสุดท้าย คือ ทำให้สารละลายตกผลึกและแห้ง ผลึกผงชูรสที่ได้จะมีหลายขนาด โดยทั่วไปจะมี 3 ขนาด ซึ่งจะคัดแยกขนาด แล้วนำไปบรรจุจำหน่ายเพื่อการใช้งานในวัตถุประสงค์ต่าง ๆ กัน

Read More
ทั่วไป

ผงชูรส … จริง หรือ หลอก บอกได้ไหม

ผงชูรสแท้โดยทั่วไปผลิตจากวัตถุดิบธรรมชาติ หากบริโภคในปริมาณที่เหมาะสม จะไม่เป็นอันตรายกับผู้บริโภคผู้ใหญ่ทั่วไปที่ไม่ได้แพ้ผงชูรส และไม่มีโรคประจำตัวที่ต้องงดเว้นโซเดียม แต่หากใส่ในปริมาณที่มากเกินไป นอกจากจะทำให้อาหารมีรสแปลก ๆ แล้ว ยังอาจทำให้ร่างกายได้รับโซเดียมมากเกินไป ซึ่งปริมาณแนะนำในการใช้ คือ ร้อยละ 0.1 – 1 ของน้ำหนักอาหาร เช่น อาหาร 500 กรัม ควรใส่ประมาณ 0.5 – 5 กรัม

Read More
ทั่วไป

กำเนิดผงชูรส

ผงชูรส ได้รับการค้นพบครั้งแรกที่ประเทศญี่ปุ่น ในปี พ.ศ. 2451 โดยศาสตราจารย์ ดร. คิคุนาเอะ อิเคดะ แห่งมหาลัยโตเกียวอิมพีเรียล ประเทศญี่ปุ่น เขาพบว่า กรดกลูตามิก ซึ่งเป็นผลึกสีน้ำตาลที่สกัดได้จากสาหร่ายทะเลคอมบุ สามารถให้รสชาติเหมือนซุปสาหร่ายทะเลที่ชาวญี่ปุ่นนิยมบริโภคกัน จึงตั้งชื่อกรดกลูตามิกที่สกัดได้ว่า อูมามิ ต่อมาจึงจดสิทธิบัตร และผลิตจำนวนมากจนกลายเป็นอุตสาหกรรมในประเทศญี่ปุ่น ในประเทศไทยพบว่า มีการนำผงชูรสเข้ามาใช้ในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 ต่อมาได้มีการผลิตในประเทศไทยครั้งแรกเมื่อปี 2502 โดยบริษัท

Read More
ทั่วไป

จากแป้งมันสำปะหลัง สู่รสอูมามิ

การผลิตผงชูรสในประเทศไทย จะใช้วัตถุดิบจากท้องถิ่น คือ แป้งมันสำปะหลัง มาละลายน้ำจนได้เป็นน้ำแป้ง แล้วนำน้ำแป้งมาผ่านกระบวนการให้ได้เป็นน้ำตาลกลูโคส โดยจะเติมเอนไซม์อะไมเลสลงไปเพื่อย่อยแป้งให้เป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว คือน้ำตาลกลูโคส จากนั้นจะเข้าสู่กระบวนการหมัก แยกกรดกลูตามิกออกมา แล้วจึงเข้าสู่กระบวนการคัดแยกกรดกลูตามิก เพื่อให้ได้สารละลายโมโนโซเดียมกลูตาเมต นำสารละลายมาผ่านกระบวนการดูดซับสีและกลิ่น ให้ได้เป็นสารละลายโมโนโซเดียมกลูตาเมตบริสุทธิ์ และขั้นตอนสุดท้าย คือ ทำให้สารละลายตกผลึกและแห้ง ผลึกผงชูรสที่ได้จะมีหลายขนาด โดยทั่วไปจะมี 3 ขนาด ซึ่งจะคัดแยกขนาด แล้วนำไปบรรจุจำหน่ายเพื่อการใช้งานในวัตถุประสงค์ต่าง ๆ กัน

คลิ๊กอ่านต่อ...
ทั่วไป

ผงชูรส … จริง หรือ หลอก บอกได้ไหม

ผงชูรสแท้โดยทั่วไปผลิตจากวัตถุดิบธรรมชาติ หากบริโภคในปริมาณที่เหมาะสม จะไม่เป็นอันตรายกับผู้บริโภคผู้ใหญ่ทั่วไปที่ไม่ได้แพ้ผงชูรส และไม่มีโรคประจำตัวที่ต้องงดเว้นโซเดียม แต่หากใส่ในปริมาณที่มากเกินไป นอกจากจะทำให้อาหารมีรสแปลก ๆ แล้ว ยังอาจทำให้ร่างกายได้รับโซเดียมมากเกินไป ซึ่งปริมาณแนะนำในการใช้ คือ ร้อยละ 0.1 – 1 ของน้ำหนักอาหาร เช่น อาหาร 500 กรัม ควรใส่ประมาณ 0.5 – 5 กรัม

คลิ๊กอ่านต่อ...
ทั่วไป

กำเนิดผงชูรส

ผงชูรส ได้รับการค้นพบครั้งแรกที่ประเทศญี่ปุ่น ในปี พ.ศ. 2451 โดยศาสตราจารย์ ดร. คิคุนาเอะ อิเคดะ แห่งมหาลัยโตเกียวอิมพีเรียล ประเทศญี่ปุ่น เขาพบว่า กรดกลูตามิก ซึ่งเป็นผลึกสีน้ำตาลที่สกัดได้จากสาหร่ายทะเลคอมบุ สามารถให้รสชาติเหมือนซุปสาหร่ายทะเลที่ชาวญี่ปุ่นนิยมบริโภคกัน จึงตั้งชื่อกรดกลูตามิกที่สกัดได้ว่า อูมามิ ต่อมาจึงจดสิทธิบัตร และผลิตจำนวนมากจนกลายเป็นอุตสาหกรรมในประเทศญี่ปุ่น ในประเทศไทยพบว่า มีการนำผงชูรสเข้ามาใช้ในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 ต่อมาได้มีการผลิตในประเทศไทยครั้งแรกเมื่อปี 2502 โดยบริษัท

คลิ๊กอ่านต่อ...
ปฐมวัย, ประถมศึกษา, มัธยมศึกษา

เรียนทางไกลกับ DLTV

มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ DLTV ได้เปิดช่องทางให้ศึกษาทางไกล ในระดับชั้นอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอาชีวศึกษา ท่านที่สนใจสามารถศึกษาผ่านช่องทางดังนี้ นอกจากนี้ยังมีรายการความรู้นอกหลักสูตร เป็นการศึกษาตามอัธยาศัยให้ได้รับชม และเมื่อไม่นานมานี้ได้มีผู้รวบรวมลิงค์การเรียนรู้แต่ละระดับชั้น แยกตามหน่วยการเรียนรู้ ตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 2 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งเป็นคลิปรายการในปีการศึกษา 2562 ให้ได้เลือกชมกัน ดังต่อไปนี้ ระดับชั้นอนุบาล 2 หน่วยการเรียนรู้ 1

คลิ๊กอ่านต่อ...